อำเภอเดิมบางนางบวช
บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ
รูปภาพที่ 26 บึงฉวาก
ไร่ อยู่ห่างจากตัวเมืองสุพรรณบุรีประมาณ 64 กิโลเมตร บึงฉวากมีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอหันคา จังหวัด
ชัยนาทและอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนที่อยู่ในเขตอำเภอเดิมบางนางบวชมีพื้นที่
ประมาณ 1,700 ไร่ บึงฉวากได้รับประกาศให้เป็นเขตห้ามล่าสัตว์มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2526 และในปี พ.ศ.
2541 ได้รับการจัดให้เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติ ตามอนุสัญญาแรมซาร์ที่ประเทศไทย
เป็นภาคี เนื่องจากความหลากหลายของพันธุ์พืชและสัตว์ที่มีในบึง ลักษณะที่เรียกว่าเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำตา
มอนุสัญญาแรมซาร์ คือพื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชี้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม น้ำขัง พื้นที่พรุ
พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้าง ทั้งที่มีน้ำขังหรือน้ำท่วมถาวรหรือชั่วคราว
ทั้งแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหล แหล่งน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม รวมไปถึงชายฝั่งทะเลและทะเลในบริเวณ
ซึ่งเมื่อน้ำลดต่ำสุด น้ำลึกไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งบึงฉวากเข้าข่ายลักษณะดังกล่าว คือเป็นบึงน้ำจืดที่เกิด
ขึ้นเองตามธรรมชาติ มีความลึกเฉลี่ยประมาณ 1 – 3 เมตร
สถานที่ท่องเที่ยวภายในบึงฉวาก
รูปภาพที่ 27 สวนสัตว์บึงฉวาก
ศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่าบึงฉวากสร้างขึ้นเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในวโรกาสทรงครองราชย์เป็นปีที่ 50 ประกอบด้วย อาคารศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจัดนิทรรศการ
ให้ความรู้เกี่ยวกับการ เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ การดูนก สภาพทาง
ภูมิศาสตร์
ประวัติความเป็นมาของบึงฉวาก มีตู้จำลองระบบนิเวศ ห้องฉายสไลด์วีดิทัศน์ ด้านนอกอาคารมี
กรงเลี้ยงนก ขนาดใหญ่ มีพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ สูง 25 เมตร ภายในกรงได้รับการตกแต่งให้ดูคล้าย
สภาพธรรมชาติ ประกอบด้วยนกกว่า 45 ชนิด ที่น่าสนใจ ได้แก่ นกกาบบัว นกเป็ดแดง ไก่ฟ้า
พญาลอ และ ไก่ฟ้าสีทอง ซึ่งกล่าวกันว่า เป็นไก่ฟ้าที่มีความสวยงามที่สุดในโลก มีการจำลอง
น้ำตกขนาดเล็กเอาไว้ภายในกรง ผู้เข้าชมจะเดินตามทางเดินที่จัดไว้ และได้สัมผัสใกล้ชิดกับนก
ต่าง ๆ ที่ปล่อยให้มีชีวิตอยู่ในสภาพแบบธรรมชาติ เดินผ่านหน้าเราไป หากเดินถัดไปจากกรงนก
จะเป็นกรงเสือขนาดใหญ่ กรงเสือขนาดเล็ก มีเสือชนิดต่าง ๆ ให้ชมและ ที่พิเศษคือ มีลูกเสือดูดนม
หมู และสัตว์สวยงามอีกหลายชนิด
1. เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
2. กรงเสือและกรงสิงห์โต กรงเสือและสิงโต ลักษณะภายในตกแต่งเป็นถ้ำและเนินหินให้ดูคล้าย
สภาพธรรมชาติ ซึ่งเป็นกรงเลี้ยงสัตว์ป่าตระกูลแมว อันได้แก่ สิงโต เสือโคร่ง เสือลายเมฆ
เสือดาว แมวดาว เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีกรงสัตว์ป่าหายากอีกหลายประเภท ที่จัดแสดงไว้ เช่น
นกน้ำ นกยูงและไก่ฟ้าชนิดต่างๆ ม้าลาย อูฐ และนกกระจอกเทศ
สภาพธรรมชาติ ซึ่งเป็นกรงเลี้ยงสัตว์ป่าตระกูลแมว อันได้แก่ สิงโต เสือโคร่ง เสือลายเมฆ
เสือดาว แมวดาว เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีกรงสัตว์ป่าหายากอีกหลายประเภท ที่จัดแสดงไว้ เช่น
นกน้ำ นกยูงและไก่ฟ้าชนิดต่างๆ ม้าลาย อูฐ และนกกระจอกเทศ
3. สถานที่ถ่ายภาพร่วมกับสัตว์ เด็กจะได้สนุกสนานกับการถ่ายภาพบนหลังม้า หรือถ่ายภาพคู่
กับลิงอุรังอุตัง เก็บไว้เป็นที่ระลึก
กับลิงอุรังอุตัง เก็บไว้เป็นที่ระลึก
4. ศูนย์พัฒนาการจัดการสัตว์ป่า และกรงนกใหญ่ เดินชมภายในกรงนกใหญ่ ที่มีสภาพแวดล้อม
คล้าย สภาพธรรมชาติ ชมพันธ์นกหายากกว่า 30 ชนิด เช่น นกยูง นกกาบบัว เป็ดแดง
คล้าย สภาพธรรมชาติ ชมพันธ์นกหายากกว่า 30 ชนิด เช่น นกยูง นกกาบบัว เป็ดแดง
5. เกาะกระต่าย พื้นที่คล้ายเกาะสร้างเป็นที่พักของกระต่าย 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์เจอร์ซี่ วูลลี่
และสายพันธุ์แองโกร่า ที่มีความน่ารักและสวยงาม รวมทั้งยังมีกวางดาว เนื้อทราย และจากสาเหตุ
ที่เป็นเกาะมีพื้นที่น้ำล้อมรอบ จึงเลี้ยงปลาไว้ในกระชังอีกจำนวนมาก เพื่อให้ผู้คนได้พักผ่อนอีก
ประเภทหนึ่ง โดยการให้อาหาร เช่น ปลาทอง ปลาคาร์ฟ ปลาสวายเผือก ฯลฯ ศูนย์พัฒนาการ
จัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก เปิดทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-16.30 น. เสาร์-อาทิตย์ เวลา 08.00-
18. 00 น.
และสายพันธุ์แองโกร่า ที่มีความน่ารักและสวยงาม รวมทั้งยังมีกวางดาว เนื้อทราย และจากสาเหตุ
ที่เป็นเกาะมีพื้นที่น้ำล้อมรอบ จึงเลี้ยงปลาไว้ในกระชังอีกจำนวนมาก เพื่อให้ผู้คนได้พักผ่อนอีก
ประเภทหนึ่ง โดยการให้อาหาร เช่น ปลาทอง ปลาคาร์ฟ ปลาสวายเผือก ฯลฯ ศูนย์พัฒนาการ
จัดการสัตว์ป่าบึงฉวาก เปิดทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-16.30 น. เสาร์-อาทิตย์ เวลา 08.00-
18. 00 น.
6. ศูนย์รวมพันธุ์ไก่ และกรงสัตว์หายาก เป็นสถานที่รวบรวมพันธุ์ไก่ชนิดต่างๆ ทั้งสวยงาม
และหายาก เช่น ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าสีทอง ไก่ฟ้าพญาลอ และสัตว์หายากอีกหลายชนิด
และหายาก เช่น ไก่ฟ้าหลังขาว ไก่ฟ้าสีทอง ไก่ฟ้าพญาลอ และสัตว์หายากอีกหลายชนิด
7. อุทยานผักพื้นบ้านเฉลิมพระเกียรติ อยู่ในความดูแลของกรมส่งเสริมการเกษตร จัดตั้งขึ้นเพื่อ
สร้างจิตสำนึก ให้ประชาชนทั่วไปเห็นคุณค่าและอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน โดยรวบรวมผักพื้นบ้าน
จากทั่วภูมิภาค ของประเทศไทยกว่า 500 ชนิด มาปลูกไว้ในบริเวณเกาะกลางบึงฉวาก มีทั้ง
สมุนไพร ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย และไม้ชื้นแฉะที่น่าสนใจได้แก่ น้ำเต้าสี่เหลี่ยม บวบหอมขนาดใหญ่
อุโมงค์น้ำพุ และการจัดสวนไม้ประดับด้วยผักพื้นบ้าน นอกจากนั้นยังมีโรงปลูกพืชระบบระเหยน้ำ
และสาธิตการปลูกพืชไร้ดินจัดแสดงให้ชมด้วย และมีห้องสมุดบริการคอมพิวเตอร์ สำหรับค้นคว้า
ข้อมูลพันธุ์ผักต่าง ๆ ห้องนิทรรศการแสดงผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์บริการท่องเที่ยวเกษตร
อุทยานผักพื้นบ้าน เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-18.00 น. (ชมฟรี)
สร้างจิตสำนึก ให้ประชาชนทั่วไปเห็นคุณค่าและอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน โดยรวบรวมผักพื้นบ้าน
จากทั่วภูมิภาค ของประเทศไทยกว่า 500 ชนิด มาปลูกไว้ในบริเวณเกาะกลางบึงฉวาก มีทั้ง
สมุนไพร ไม้ยืนต้น ไม้เลื้อย และไม้ชื้นแฉะที่น่าสนใจได้แก่ น้ำเต้าสี่เหลี่ยม บวบหอมขนาดใหญ่
อุโมงค์น้ำพุ และการจัดสวนไม้ประดับด้วยผักพื้นบ้าน นอกจากนั้นยังมีโรงปลูกพืชระบบระเหยน้ำ
และสาธิตการปลูกพืชไร้ดินจัดแสดงให้ชมด้วย และมีห้องสมุดบริการคอมพิวเตอร์ สำหรับค้นคว้า
ข้อมูลพันธุ์ผักต่าง ๆ ห้องนิทรรศการแสดงผลผลิตทางการเกษตร ศูนย์บริการท่องเที่ยวเกษตร
อุทยานผักพื้นบ้าน เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่ เวลา 08.30-18.00 น. (ชมฟรี)
โซนสัตว์น้ำ
1. สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำบึงฉวาก (อุโมงค์ปลาน้ำจืด)ภายในอาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ำรวบรวม
พันธุ์ ปลาน้ำจืด ปลาสวยงามและพันธุ์ปลาหายาก เอาไว้ให้ประชาชนได้ศึกษา แบ่งเป็น 2
อาคาร
พันธุ์ ปลาน้ำจืด ปลาสวยงามและพันธุ์ปลาหายาก เอาไว้ให้ประชาชนได้ศึกษา แบ่งเป็น 2
อาคาร
อาคารแสดงสัตว์น้ำหลังที่ 1
จัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำจืดและสัตว์น้ำเค็ม ทั้งพันธุ์ปลาไทย และพันธุ์ปลาต่างประเทศกว่า 50
ชนิด เช่น ปลาบึก ปลากระโห้ ปลาม้า ปลากราย ปลาช่อนงูเห่า ปลาเสือตอ เป็นต้น
ชนิด เช่น ปลาบึก ปลากระโห้ ปลาม้า ปลากราย ปลาช่อนงูเห่า ปลาเสือตอ เป็นต้น
รูปภาพที่ 28 อาคารแสดงสัตว์น้ำหลังที่ 1 บึงฉวาก
อาคารแสดงสัตว์น้ำหลังที่ 2
ความยาวประมาณ 8.5 เมตร ผู้ชมสามารถเดินลอดผ่านใต้ตู้ปลา ได้บรรยากาศเหมือนอยู่ใกล้สัตว์น้ำ
ซึ่งถือว่าเป็นอุโมงค์ปลาน้ำจืดแห่งแรก ของประเทศไทย มีนักประดาน้ำหญิงสาธิตการให้อาหารปลา
นอกจากนั้นโดยรอบยังมีตู้ปลาน้ำจืดอีก 30 ตู้ และตู้ปลาทะเลสวยงามอีก 7 ตู้ การแสดงตู้ปลาใหญ่
มีเฉพาะวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มี 4 รอบ ตั้งแต่เวลา 10.30 – 16.00 น.
เป็นบ่อจระเข้ที่ได้จำลองให้มีสภาพใกล้เคียงกับ ธรรมชาติมากที่สุด พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ มี
จระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยขนาด 1.5 – 4.0 เมตร ประมาณ 60 ตัว ซึ่งผู้ชมจะได้เห็นความเป็นอยู่ แบบ
ธรรมชาติของจระเข้ และสามารถเข้าชมอย่างใกล้ชิด มีการแสดงจระเข้วันเสาร์ – อาทิตย์ และวัน
หยุดนักขัตฤกษ์ รอบ 11.00น. 12.30น. 14.00น. และ 15.30 น.
จระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยขนาด 1.5 – 4.0 เมตร ประมาณ 60 ตัว ซึ่งผู้ชมจะได้เห็นความเป็นอยู่ แบบ
ธรรมชาติของจระเข้ และสามารถเข้าชมอย่างใกล้ชิด มีการแสดงจระเข้วันเสาร์ – อาทิตย์ และวัน
หยุดนักขัตฤกษ์ รอบ 11.00น. 12.30น. 14.00น. และ 15.30 น.
รูปภาพที่ 30 อาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ำหลังที่ 3 บึงฉวาก
จัดแสดงพันธุ์ปลาทะเลมากมายหลายชนิด ให้ได้ชมกัน มีตู้ปลาขนาดใหญ่ และตู้ปลารูปทรง
แปลกตา เพื่อคอยบริการนักท่องเที่ยวให้ได้ชื่นชมกับ ความสวยงาม และบรรยากาศของโลกใต้
ทะเล รวมทั้งตื่นตาตื่นใจกับอุโมงค์ปลา และบันไดเลื่อน ขนาดความยาว 75 เมตร เพื่อให้ได้ศึกษา
สภาพความเป็นอยู่ของ สัตว์ทะเลอย่างใกล้ชิด รวมทั้งบ้านของเจ้าแห่งท้องทะเล หรือปลาฉลามอีก
จำนวนมาก ภายอาคารในพบกับตู้ปลาทรงกระบอก (Cylinder) ใหญ่และสูงที่สุดในเมืองไทย เปิด
โลกใต้ทะเล (The Open Sea) ชมความงามของปลากระเบนนก ปลาฉลามครีบดำ ปลาค้างคาว
ตู้ยักษ์ใต้สมุทร (Giant Groupter) พบปลาหมอทะเล ปลากระเบนท้องน้ำ เต่าทะเล และอุโมงค์
ยาว 12.50 เมตร ตู้แนวประการัง (Coral reef) พบกับฝูงปลาขนาดใหญ่ ปลาปักเป้า ปลาผีเสื้อ
ว่ายวนบนแนวปะการังเทียมที่สีสันสวยสดงดงามตู้ปะการังสีฟ้าจากโอกินาวา(Okinava blue) เนรมิต
ประการัง ภายในตู้เปรียบเสมือน ประการังแห่งท้องทะเลโอกินาวา อุโมงค์ปลา
ฉลาม (Shark Tunnel) ตื่นตากับฝูงปลาฉลามขนาดใหญ่ ฉลามเสือทราย ฉลาดเสือดาว ฉลาม
ครีบดำ และอุโมงค์ยาว 16เมตร กว้าง 6 เมตร ซึ่งเป็นอุโมงค์ปลาที่กว้างที่สุดในโลก ตู้สีสันสิมิลัน
(Similan Cliff) ตกแต่งด้วยประการังสีชมพู กัลปังหาที่สวยงาม และปลาสีสันสวยงามหลากหลาย
ชนิด
แปลกตา เพื่อคอยบริการนักท่องเที่ยวให้ได้ชื่นชมกับ ความสวยงาม และบรรยากาศของโลกใต้
ทะเล รวมทั้งตื่นตาตื่นใจกับอุโมงค์ปลา และบันไดเลื่อน ขนาดความยาว 75 เมตร เพื่อให้ได้ศึกษา
สภาพความเป็นอยู่ของ สัตว์ทะเลอย่างใกล้ชิด รวมทั้งบ้านของเจ้าแห่งท้องทะเล หรือปลาฉลามอีก
จำนวนมาก ภายอาคารในพบกับตู้ปลาทรงกระบอก (Cylinder) ใหญ่และสูงที่สุดในเมืองไทย เปิด
โลกใต้ทะเล (The Open Sea) ชมความงามของปลากระเบนนก ปลาฉลามครีบดำ ปลาค้างคาว
ตู้ยักษ์ใต้สมุทร (Giant Groupter) พบปลาหมอทะเล ปลากระเบนท้องน้ำ เต่าทะเล และอุโมงค์
ยาว 12.50 เมตร ตู้แนวประการัง (Coral reef) พบกับฝูงปลาขนาดใหญ่ ปลาปักเป้า ปลาผีเสื้อ
ว่ายวนบนแนวปะการังเทียมที่สีสันสวยสดงดงามตู้ปะการังสีฟ้าจากโอกินาวา(Okinava blue) เนรมิต
ประการัง ภายในตู้เปรียบเสมือน ประการังแห่งท้องทะเลโอกินาวา อุโมงค์ปลา
ฉลาม (Shark Tunnel) ตื่นตากับฝูงปลาฉลามขนาดใหญ่ ฉลามเสือทราย ฉลาดเสือดาว ฉลาม
ครีบดำ และอุโมงค์ยาว 16เมตร กว้าง 6 เมตร ซึ่งเป็นอุโมงค์ปลาที่กว้างที่สุดในโลก ตู้สีสันสิมิลัน
(Similan Cliff) ตกแต่งด้วยประการังสีชมพู กัลปังหาที่สวยงาม และปลาสีสันสวยงามหลากหลาย
ชนิด
อำเภอเดิมบางนางบวช
บริเวณวัดตั้งอยู่บนเขานางบวช มีทิวทัศน์ที่สวยงาม และเป็นวัดสำคัญที่มีประวัติศาสตร์อัน
ยาวนาน และเรื่องราวราวเล่าขานที่น่าสนใจ มีทั้งทางราดยางและบันได 249 ขั้น ขึ้นไปจนถึงยอด
เขา เป็นวัดของพระอาจารย์ ธรรมโชติ ผู้ทรงคุณวุฒเครื่องรางของขลังสมัยศึกบางระจัน ชาวบ้าน
บางระจันได้นิมนต์ไปเป็นกำลังใจการสู้รบ กับพม่า มีรอยพระพุทธบาทอยู่ในวิหาร พระอาจารย์
ธรรมโชติ ด้านหลังเป็นเจดีย์แผ่นหิน รูปปั้นอาจารย์ธรรมโชติ ภายในศาลามีพระพุทธรูปสมัยรัชกาล
ที่ 5
ประวัติพระอาจารย์ธรรมโชติ
ยาวนาน และเรื่องราวราวเล่าขานที่น่าสนใจ มีทั้งทางราดยางและบันได 249 ขั้น ขึ้นไปจนถึงยอด
เขา เป็นวัดของพระอาจารย์ ธรรมโชติ ผู้ทรงคุณวุฒเครื่องรางของขลังสมัยศึกบางระจัน ชาวบ้าน
บางระจันได้นิมนต์ไปเป็นกำลังใจการสู้รบ กับพม่า มีรอยพระพุทธบาทอยู่ในวิหาร พระอาจารย์
ธรรมโชติ ด้านหลังเป็นเจดีย์แผ่นหิน รูปปั้นอาจารย์ธรรมโชติ ภายในศาลามีพระพุทธรูปสมัยรัชกาล
ที่ 5
ประวัติพระอาจารย์ธรรมโชติ
พระอาจารย์ธรรมโชติ เดิมชื่อ โชติ เมื่อครั้งบวชเป็นพระได้นามว่า "ธรรมโชติรังษี" เกิดเมื่อ
ปี พ.ศ.2243 ในสมัยสมเด็จพระเทพราชา ที่เมืองนครพนมเมื่ออายุได้ 9 ขวบ ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านเดิม
เมื่ออายุ 22 ปี ใน พ.ศ. 2265 ที่วัดยาง ตำบลแสวงหา แขวงเมืองวิเศษชัยชาญ ฝั่งตรงข้ามกับวัดโพธิ์
เก้าต้น จำวัดอยู่ 6พรรษาจึงย้ายไปตั้งสำนักสงฆ์ ณ ถ้ำยอดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ตอน
เกิดศึกบางระจัน พระอาจารย์ธรรมโชติ อายุได้ 66 พรรษาเมื่อครั้งค่ายบางระจันแตก ท่านได้ไปจำ
พรรษา ที่วัดนครจำปาศักดิ์อยู่สามปี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กู้ชาติกลับคืนได้ ท่านได้
เดินทางกลับมายังสำนักเขาขึ้น และได้รับสมณศักดิพัดยศเป็น พระครูธรรมโชติรังษี จากสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช พระอาจารย์ธรรมโชติ มรณะภาพ เมื่ออายุ 82พรรษา หลายคนยังเชื่อว่า
ท่านหายสาบสูญไปกับค่ายบางระจัน ด้วยเหตุที่ท่านเก็บตัวไม่ รับแขก จึงเป็นที่มาว่าท่านถูกข้าศึก
ฆ่าตาย
ปี พ.ศ.2243 ในสมัยสมเด็จพระเทพราชา ที่เมืองนครพนมเมื่ออายุได้ 9 ขวบ ได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านเดิม
เมื่ออายุ 22 ปี ใน พ.ศ. 2265 ที่วัดยาง ตำบลแสวงหา แขวงเมืองวิเศษชัยชาญ ฝั่งตรงข้ามกับวัดโพธิ์
เก้าต้น จำวัดอยู่ 6พรรษาจึงย้ายไปตั้งสำนักสงฆ์ ณ ถ้ำยอดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ตอน
เกิดศึกบางระจัน พระอาจารย์ธรรมโชติ อายุได้ 66 พรรษาเมื่อครั้งค่ายบางระจันแตก ท่านได้ไปจำ
พรรษา ที่วัดนครจำปาศักดิ์อยู่สามปี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กู้ชาติกลับคืนได้ ท่านได้
เดินทางกลับมายังสำนักเขาขึ้น และได้รับสมณศักดิพัดยศเป็น พระครูธรรมโชติรังษี จากสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช พระอาจารย์ธรรมโชติ มรณะภาพ เมื่ออายุ 82พรรษา หลายคนยังเชื่อว่า
ท่านหายสาบสูญไปกับค่ายบางระจัน ด้วยเหตุที่ท่านเก็บตัวไม่ รับแขก จึงเป็นที่มาว่าท่านถูกข้าศึก
ฆ่าตาย
ประวัติ และที่มาของวัดเขานางบวช
ราวปี 1826 มีหญิงชื่อชบา เป็นสนมแห่งพระร่วงเจ้า กรุงสุโขทัย เกิดเบื่อหน่ายในเพศ
ฆราวาส จึงออกบวชสละทางโลกเข้าจำพรรษารักษาศีลอยู่ในถ้ำบนยอดเขาแห่งนี้ คนทั้งหลายจึงเรียก
เขาแห่งนี้ว่า "เขานางบวช" (ถ้ำอยู่ด้านหลังศาลา) ปัจจุบันปากถ้ำทรุดไม่สามารถเข้าไปได้ เล่ากันว่า
ภายในถ้ำมีข้าวของ เครื่องประดับจำนวนมาก สันนิฐานว่าเป็นของพวกที่ติดตามนางสนมชบา แต่
ของเหล่านั้นได้สูญหายไปเมื่อปี พ.ศ.2402 และบางช่วงเวลา วัดแห่งนี้ได้เป็นวัดร้างในบางปีด้วย
เครื่องประดับชิ้นสุดท้ายที่พบบริเวณปากถ้ำ เมื่อปี พ.ศ. 2539 เป็นกำไรหยกหัวพญานาค แต่ผู้พบ
มิได้ถวายเป็นสมบัติวัด
ฆราวาส จึงออกบวชสละทางโลกเข้าจำพรรษารักษาศีลอยู่ในถ้ำบนยอดเขาแห่งนี้ คนทั้งหลายจึงเรียก
เขาแห่งนี้ว่า "เขานางบวช" (ถ้ำอยู่ด้านหลังศาลา) ปัจจุบันปากถ้ำทรุดไม่สามารถเข้าไปได้ เล่ากันว่า
ภายในถ้ำมีข้าวของ เครื่องประดับจำนวนมาก สันนิฐานว่าเป็นของพวกที่ติดตามนางสนมชบา แต่
ของเหล่านั้นได้สูญหายไปเมื่อปี พ.ศ.2402 และบางช่วงเวลา วัดแห่งนี้ได้เป็นวัดร้างในบางปีด้วย
เครื่องประดับชิ้นสุดท้ายที่พบบริเวณปากถ้ำ เมื่อปี พ.ศ. 2539 เป็นกำไรหยกหัวพญานาค แต่ผู้พบ
มิได้ถวายเป็นสมบัติวัด
ขอขอบคุณ
http://www.suphan.biz/bungchawak.htmhttp://www.suphan.biz/Watkaokeun.htm
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น